คนไม่เคยถูกรักของฟลุ๊ก The STar 5

วันอังคารที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ลูกเเรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ

สิ่งที่ได้รับจากการเรียนวิชาเตรียมฝึกประสบการณวิชาชีพ3

1. ได้เรียนรู้จักการทำงานที่ต้องมีความรับผิดชอบให้ได้ประสิทธิและถูกต้องตามระเบียบ
2. ได้เรียนรู้จักการทำงานเป็นระบบเป็นขั้นเป็นตอน
3. ได้เรียนรู้จักการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นในการทำงาน
4. ได้เรียนรู้จักความรอบคอบละเอียดในการเเก้ไขปัญหา
5. ได้เรียนรู้จักการทำงานเป็นทีมกับบุคคลรอบข้าง
6. ได้เรียนรู้จักการรับความรู้รอบตัวในสาขาวิชาอื่นมากขึ้น
7. ได้เรียนรู้การตรงต่อเวลามากขึ้นในการทำงาน
8. ได้เรียนรู้จักอดทนในเวลาระหว่างการทำงาน

DTS12-15/09/2009

สรุป Sorting (ต่อ)
การเรียงลำดับแบบเร็ว (Quick sort) เป็นการเรียงลำดับที่ใช้วเลาน้อยเหมาะสำรับข้อมูลที่มีจำนวนมากที่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน
การเรียงลำดับแบบแทรก (insertion sort) เป็นวิธีที่ทำการเพิ่มสมาชิกใหม่เข้าไปในเซต ที่มีสมาชิกทุกตัวเรียงลำดับอยู่แล้ว และทำให้เซตใหม่ มีสมาชิกทุกตัวเรียงลำดับด้วย วิธีการเรียงลำดับ
1.เริ่มต้นเปรียบเทียบจากข้อมูลในตำแหน่งที่ 1 กับ 2 หรือข้อมูลในตำแหน่งสุดท้ายและรองสุดท้ายก็ได้
ถ้าเป็นการเรียงลำดับจากน้อยไปมาก
2.จะ ต้องจัดให้ข้อมูลที่มีค่าน้อยอยู่ในตำแหน่งก่อนข้อมูลที่มีค่ามาก และถ้าเรียงจากมากไปน้อยก็จะจัดให้ข้อมูลที่มีค่ามากอยู่ในตำแหน่งก่อน
การเรียงลำดับแบบฐาน (radix sort)เป็นการเรียงลำดับโดยการพิจารณาข้อมูลทีละหลัก
1.เริ่มพิจารณาจากหลักที่มีค่าน้อยที่สุดก่อน คือ ถ้าเป็นข้อมูลเป็นเลขจำนวนเต็มจะพิจารณาหลักหน่อยก่อน
2.การจัดเรียงจะนำข้อมูลเข้ามาทีละตัว และนำไปเก็บไว้ที่ซึ่งจัดไว้สำหรับค่านั้น เป็นกลุ่มๆ ตามลำดับการเข้ามา
3.ใน แต่ละรอบเมื่อจัดกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ให้รวบรวมข้อมูลจากทุกกลุ่มเข้าด้วยกัน โดยเริ่มเรียงจากกลุ่มที่มีค่าน้อยที่สุดก่อนแล้วเรียงไปเรื่อยๆ จนหมดทุกกลุ่ม
4.ในรอบต่อไปนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้จัดเรียงในหลักหน่วย เรียบร้อยแล้วมาพิจารณาจัดเรียงในหลักสิบต่อไป ทำไปเรื่อยๆ จนครบทุกหลักจะได้ข้อมูลที่เรียงลำดับจากน้อยไปมากตามต้องการ
การเรียงลำดับแบบฐานมี วิธีการที่ไม่ซับซ้อนแต่ค่อนข้างใช้เนื้อที่ในหน่วยความจำมาก เนื่องจากการจัดเรียงแต่ละรอบจะต้องเตรียมเนื้อที่สำหรับสร้างที่เก็บข้อมูล ในแต่ละกลุ่ม
สรุป ตารางแฮซ (Hash Table)ตา รางแฮช (Hash Tables) การเข้าถึงข้อมูลโดยตรง กำหนด ให้ k เป็นคีย์ ถูกจัดเก็บอยู่ใน ช่อง k ด้วยการทำแฮชด้วยพื้นฐาน การจัดเก็บในช่องที่ h(k) โดย ใช้ฟังก์ชัน h เพื่อคำนวณหาช่องของคีย์โดยการจับคู่กับเอกภพสัมพัทธ์U ในตาราง Th: U �� {0,1,…,m-1} ฟังก์ชัน แฮช จะทำงานแบบสุ่ม แนวคิดหลัก คือ ลด ขนาดอะเรย์ของดัชนี
การชนกันของข้อมูล (Collision)
การ ที่แทรกคีย์ในตาราง ที่จัดเก็บนั้นมีโอกาสที่คีย์ที่ถูกสร้างจากฟังก์ชัน ในช่องเดียวกัน การเกิดการชนกันก็ยังคงต้องมีอย่างน้อยหนึ่งครั้ง การแก้ไข ปัญหาชนกันของข้อมูล แบบห่วงโซ่(Chaining)1. กรณีที่เลวร้ายที่สุด ในการแทรกข้อมูลคือ o(1) 2. การลบสมาชิก สามารถทำได้ด้วยเวลาที่น้อยที่สุดของ o(1)ทางปฏิบัติ ใช้เทคนิค ฮิวริสติก (Heuristic) ในการสร้างฟังก์ชันแฮช แนวทางหนึ่งที่ดีคือ การแปลงค่าของข้อมูลที่มีอยู่แล้วด้วยข้อมูลที่มีอยู่ (วิธีการหาร:Division method) ฟังก์ชันแฮช คือการกำหนดค่าคีย์ที่เกิดขึ้นในเอก ภพสัมพัทธ์จากตัวเลขธรรมชาติ
วิธีการสร้างฟังก์ชันแฮช1.วิธีการหาร (The Division Method)
2.วิธีการคูณ(The Multiplication Method)
3.วิธีทั่วไป (Universal hashing)
เทคนิคลำดับของการตรวจสอบ
1. การตรวจสอบเชิงเส้น (Linear Probing)
2.การตรวจสอบด้วยสมการกำลังสอง(Quadratic Probing)
3. การสร้างฟังก์ชันแฮชแบบสองเท่า(Double Hashing)